เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : Creative Economy



What is Creative Economy mean?.
The Creative Economy Council defines the creative economy as referring to two factors:A. The rising importance of creative workers in creating new jobs and companies and in helping mature industries retool for the future; and
B. The recognition of arts and cultural assets as more than contributors to quality of life in a particular place, but as important economic drivers for the region.defined by http://juiceconference.org/content/what-creative-economy
All around the world, the creative and cultural economy is talked about as an important and growing part of the global economy.
The term refers to the socio-economic potential of activities that trade with creativity, knowledge and information. Governments and creative sectors across the world are increasingly recognizing its importance as a generator of jobs, wealth and cultural engagement. At the heart of the creative economy are the cultural and creative industries that lie at the crossroads of arts, culture, business and technology. What unifies these activities is the fact that they all trade with creative assets in the form of intellectual property (IP); the framework through which creativity translates into economic value. The UK has the largest creative sector of the European Union. In terms of GDP it is the largest in the world, and according to UNESCO it is, in absolute terms, the most successful exporter of cultural goods and services in the world, ahead of even the US. The UK government has taken a lead role in developing the creative economy agenda, with mapping exercises in 1998 and 2001 as well as further policy strategies and interventions in subsequent years. The UK’s definition of the creative industries - ‘those industries that are based on individual creativity, skill and talent with the potential to create wealth and jobs through developing intellectual property’ - includes thirteen sectors: advertising, architecture, the art and antiques market, crafts, design, designer fashion, film, interactive leisure software (ie. video games), music, the performing arts, publishing, software, and television and radio. Because it was the first definition offered by a government, this original UK definition has been widely adopted by other countries, with sectors adapted based on local commercial and cultural importance. UNCTAD’s 2008 report Creative Economy suggested a more inclusive definition which brought this term into popular use and recognised the wider societal impact: ‘the interface between creativity, culture, economics and technology as expressed in the ability to create and circulate intellectual capital, with the potential to generate income, jobs and export earnings while at the same time promoting social inclusion, cultural diversity and human development. This is what the emerging creative economy has already begun to do.’ The British Council's Cultural and Creative Economy programme builds on the UK’s position as a world leader in the development of the creative and cultural economy and the UK Government’s aspiration to support further growth. This is an economic agenda but it also has a deep social and cultural relations purpose.

คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) หมายถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจใดๆ ที่ต้องมีองค์ประกอบร่วมของแนวความคิดในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ บนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ ทางการศึกษา การสร้างสรรค์งาน และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของสังคม นวัตกรรมและเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม (ประชิด ทิณบุตร,2556)

Cited from http://creativecities.britishcouncil.org/creative-industries/what_are_creative_industries_and_creative_economy
The UK Government Department for Culture, Media and Sport (DCMS) definition which describes the creative industries as:"those industries which have their origin in individual creativity, skill and talent and which have a potential for wealth and job creation through the generation and exploitation of intellectual property" (DCMS 2001, p. 04)
As of 2006 the DCMS definition recognises twelve creative sectors (down from fourteen in their 2001 document), namely:advertisingarchitecturearts and antique marketscraftsdesign (see also communication design)designer fashionfilm, video and photographysoftware, computer games and electronic publishingmusic and the visual and performing artspublishingtelevisionradio (DCMS 2006)
("Film and video" became "film, video and photography"; "music" and "performing arts" merged to form "music and the visual and performing arts"; "interactive leisure software" combined with "computer services" to form "software, computer games and electronic publishing".)cited from : http://en.wikipedia.org/wiki/Creative_industries
---------------------------------------------------------------------------
สรุปนโยบายของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ด้านการพัฒนาหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (Otop) ตามแนวคิดการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (กรมการพัฒนาชุมชน,2556)

1. นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) ด้านการพัฒนาหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
คือ การบริหารจัดการโครงการหนึ่งตำบล ให้มีศักยภาพ ซึ่งตรงกับยุทธศาสตร์กรม คือการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์
2. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มี 3 กลยุทธ์ คือ
    1. พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และการตลาด
    2. ส่งเสริมการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเผยแพร่สู่เวทีโลก
    3. พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม
3. เป้าหมายการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ คือ ภูมิปัญญาท้องถิ่นยกระดับไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์
4. Best Practice ของยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ คือ พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เป้าหมาย เพื่อการท่องเที่ยว
5. การดำเนินโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544
6. วัตถุประสงค์การดำเนินโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) มีดังนี้
    1. สร้างงานและเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน
    2. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน
    3. ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
    4. ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
   5. ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของชุมชน
7. ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) มีดังนี้
    ขั้นตอนที่ 1 ระดับตำบล มีหน้าที่หลักในกระบวนการจัดเวทีประชาคมเพื่อคัดเลือกผลิตภัณฑ์ดีเด่นของ ตำบลให้สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น วัตถุดิบ ในท้องถิ่น และแผนชุมชน
    ขั้นตอนที่ 2 ระดับอำเภอ มีหน้าที่ในการจัดลำดับผลิตภัณฑ์เด่นตำบลต่างๆ ของอำเภอ การบูรณาการแผน และงบประมาณเพื่อให้การสนับสนุน
    ขั้นตอนที่ 3 ระดับจังหวัด มีหน้าที่หลักในการจัดลำดับผลิตภัณฑ์ดีเด่น อำเภอต่าง ๆ ของจังหวัดบูรณาการแผนและงบประมาณเพื่อให้การสนับสนุน
    ขั้นตอนที่ 4 และ 5 ระดับส่วนกลาง มีหน้าที่หลักในการกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์ และแผนแม่บทการดำเนินงาน “OTOP” กำหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์การคัดเลือก/ขึ้นบัญชีผลิตภัณฑ์ดีเด่นของตำบล และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อการสนับสนุนให้การดำเนินงานเป็นไปตามนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนแม่บท
8. กรมเริ่มการคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ (OTOP Product Champion : OPC) ครั้งแรก เมื่อ ปี 2546
9. แนวคิด หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” เป็นแนวคิดที่เน้นกระบวนการสร้างรายได้จากผลิตภัณฑ์ ในแต่ละหมู่บ้าน ชุมชนหรือ ตำบล สนับสนุนและส่งเสริมให้แต่ละชุมชนได้นำทรัพยากรและภูมิปัญญาในท้องถิ่นมา พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์และบริการคุณภาพที่มีจุดเด่นและมูลค่าเพิ่ม เป็นที่ต้องการของตลาด สอดคล้องกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของท้องถิ่น โดยยึดหลักการพึ่งตนเองของชุมชน
10. หลักการพื้นฐานของหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
    1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สากล (Local yet Global) ผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
    2. พึ่งตนเองและคิดอย่างสร้างสรรค์ (Self - Reliance – Creativity) สร้างกิจกรรมที่อาศัยศักยภาพของท้องถิ่น คิดค้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้สิ่งที่ดีที่สุด เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชนไม่ซ้ำแบบกันและเป็นที่ยอมรับทั่วไป
    3. การสร้างทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) สร้างบุคลากรที่มีความคิดกว้างไกลมีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการผลิตและบริการมีจิตวิญญาณแห่งการสร้างสรรค์
11. เป้าหมายหลักของหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) 3 ประการ คือ
    1. มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพระดับสากล
    2. มีเอกลักษณ์เป็นที่ลือชื่อเพียงหนึ่งเดียว
    3. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการปรับปรุงเทคโนโลยี
12. ประธาน กอ นตผ. คือ นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกรัฐมตรีมอบหมายเป็นประธาน
13. เลขานุการ กอ.นตผ. คือปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
14. อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
15. ประธานอนุกรรมการคณะอนุกรรมการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ภูมิภาค คือปลัดกระทรวงมหาดไทย
16. อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ
17. วัตถุประสงค์การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product Champion : OPC) คือ
    1. เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ (Product Level) ที่จะนำ ไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์(Product Development)
    2. เพื่อจัดระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์(Profile) ที่จะใช้ในการทำงานเชิงบูรณาการของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
    3. เพื่อเสริมสร้างคุณค่าของผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับแก่บุคคลทั่วไปจนสามารถใช้เป็นแหล่งสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กับชุมชน
4. เพื่อกระตุ้นให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP และชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
18. กรอบการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย

  1. สามารถส่งออกได้ (Exportable) โดยมีความแกร่งของตราผลิตภัณฑ์ (Brand Equity)
    2. ผลิตอย่างต่อเนื่องและคุณภาพคงเดิม (Continuous & Consistant)
    3. ความมีมาตรฐาน(Standardization) โดยมีคุณภาพ (Quality) และสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า
(Satisfaction)
    4. มีประวัติความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ (Story of Product)
19. ประเภทผลิตภัณฑ์ที่คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย มี 5 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ดังนี้
   1.ประเภทอาหาร
   2.ประเภทเครื่องดื่ม
   3.ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย
   4.ประเภทของใช้/ของ ตกแต่ง/ของที่ระลึก
   5.ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
20. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย 3 ด้าน คือ
   1. ด้านผลิตภัณฑ์และความเข้มแข็งของชุมชน
   2. ด้านความเป็นไปได้ทางการตลาด
   3. ด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์
21. การจัดระดับผลิตภัณฑ์(Product Level) มี 5 ระดับ คือ
   1. ระดับ 5 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 90 คะแนนขึ้นไป)
เป็นสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน หรือมีศักยภาพในการส่งออก
   2. ระดับ 4 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 80-89 คะแนน)
เป็นสินค้าที่มีศักยภาพ เป็นที่ยอมรับระดับประเทศ และสามารถพัฒนาสู่สากล
   3. ระดับ 3 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 70-79 คะแนน)
เป็นสินค้าที่มีคุณภาพระดับกลางที่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 4 ดาวได้
   4. ระดับ 2 ดาว (ได้คะแนนตั้งแต่ 50-69 คะแนน)
เป็นสินค้าที่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 3 ดาว มีการประเมินศักยภาพเป็นระยะ
   5. ระดับ 1 ดาว (ได้คะแนนต่ำกว่า 50 คะแนน)
เป็นสินค้าที่ไม่สามารถพัฒนาสู่ระดับ 2 ดาวได้ เนื่องจากมีจุดอ่อนมาก และพัฒนายาก
22. วัตถุประสงค์การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
   1. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ให้เป็นปัจจุบัน
   2. เพื่อใช้ประโยชน์ในการกำหนดแผนการส่งเสริมและพัฒนาได้อย่างเหมาะสม
23. กลุ่มเป้าหมายการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
กลุ่มเป้าหมายในการลงทะเบียนได้แก่ กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการที่ผลิตสินค้า OTOP ที่เคยลงทะเบียน และยังไม่เคยลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
24. ประเภทของผู้ผลิต / ผู้ประกอบการ OTOP ที่สามารถลงทะเบียนได้
    1. เป็นกลุ่มผู้ผลิตชุมชน
    2. เป็นผู้ผลิตที่เป็นเจ้าของรายเดียว
    3. เป็นผู้ผลิตที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม
25. ลักษณะผลิตภัณฑ์ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่สามารถลงทะเบียนได้ต้องแสดงถึงภูมิปัญญาไทยและมีลักษณะดังนี้
    1. วัตถุดิบที่นำมาผลิต ต้องไม่ผิดกฎหมาย
    2. ไม่เป็นสินค้าที่เลียนแบบดัดแปลง นำเข้า หรือนำเข้าเพื่อดัดแปลงหรือละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา
    .3 ไม่เป็นสินค้าที่ก่ออันตรายอย่างร้ายแรงต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมรวมทั้งไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมอันดีของไทย
    4. กรณีเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีกฏหมายบังคับต้องได้รับอนุญาตให้ผลิต
26. Concept เครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge-Based OTOP:KBO) คือ การเชื่อมโยงสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นกับชุมชนโดยการจัดตั้งเครือข่ายองค์ความรู้เป็นศูนย์ พี่เลี้ยง/ฝึกอาชีพ OTOP ออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องรับกับภูมิปัญญาในแต่ละท้องถิ่น
27. Ultimate Goal การดำเนินงานของ KBO คือ ชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน
28. ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจรคืออะไร
    - ศูนย์การให้คำปรึกษาแนะนำและให้บริการทางวิชาการข้อมูลข่าวสารความรู้ด้านการผลิตการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาทุน เพื่อสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้แก่ชุมชน
    - ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพ ด้านการผลิตการตลาดการบริหารจัดการทุนรวมทั้งการพัฒนาอาชีพและรายได้ระหว่างครัวเรือน กลุ่มองค์กร เครือข่ายและชุมชนในระดับอำเภอ
    - ศูนย์กลางประสานกิจกรรมด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
    - ศูนย์กลางจัดการความรู้ด้านการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในระดับอำเภอโดยเชื่อโยงความรู้และกิจกรรมกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนทุกระดับ
29. ภารกิจของศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร
    1. เป็นศูนย์กลางการให้คำปรึกษาแนะนำและให้บริการทางวิชาการ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ด้านการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การตลาด แหล่งทุน และแหล่งเรียนรู้ เพื่อการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้แก่ชุมชน
    2. เป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการทุน การผลิต การตลาด รวมทั้งการพัฒนาอาชีพและรายได้ ระหว่างครัวเรือน กลุ่ม อาค์กร เครือข่าย และชุมชนในระดับอำเภอ
    3. เป็นศูนย์กลางประสานกิจกรรมด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ได้แก่
      3.1 เป็นศูนย์ประสานงานศูนย์ข้อมูลกลางสั่งซื้อสั่งจ้างผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพที่มีสิทธิพิเศษในระดับอำเภอ (DCOP.NET)
      3.2 ให้บริการข้อมูล หลักเกณฑ์ แนวทางในการลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) และการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย
   4. เป็นศูนย์กลางจัดการความรู้ด้านการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในระดับอำเภอ โดยเชื่อมโยงความรู้และกิจกรรมกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนทุกระดับ
30. การให้บริการของศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร คือ
    1. ให้บริการ ณ ที่ตั้งของศูนย์ฯ
    2. ให้บริการโดยจัดกิจกรรมเคลื่อนที่ตามความต้องการของชุมชน หรือตามสถานการณ?เร่งด่วน
31. ปี 2555 กรมฯ เปลี่ยนจากศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนครบวงจร เป็น ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก

No comments:

Post a Comment